เมื่อประวัติของน้ำตาล ไม่ได้หวานอย่างชื่อ น้ำตาล ที่กลายเป็นเครื่องปรุงรสอาหารที่สำคัญของทุกชาติ (...อ่านต่อ)
ด.ร.อัมเบดการ์ ผู้นำพุทธศาสนากลับคืนสู่อินเดียอีกครั้ง ด.ร. อัมเบดการ์ หรือชื่อเต็มของท่าน คือ บาบาสาเหบ พิมเรา รามจิ (...อ่านต่อ)
Peths เขตพื้นที่เก่าแก่และสำคัญทางเศรษฐกิจในเมืองปูเณ่ เรามักได้ยินชื่อเรียกสถานที่ต่างๆ ในปูเณ่ที่ต่อท้ายด้วย Peth (...อ่านต่อ)
ธงชาติอินเดีย “ไตรังคา” (Tiranga) ธงชาติสาธารณรัฐอินเดีย (National Flag) นิยมเรียกว่า “ไตรังคา” (...อ่านต่อ)
26 มกราคม วันชาติอินเดีย Happy Republic Day ! แม้ว่าอินเดียได้รับอิสรภาพในวันที่ 15 สิงหาคม 1947 (...อ่านต่อ)
จัณฑาโศกราชผู้โหดเหี้ยมสู่อโศกมหาราชผู้ทรงธรรม พระเจ้าอโศกมหาราช (Ashoka the great พ.ศ. 240 – พ.ศ. 312) (...อ่านต่อ)
ประติภา ปาติล ประธานาธิบดีหญิงคนแรกแห่งประวัติศาสตร์อินเดีย นางประติภา เทวีสิงห์ ปาติล (Pratibha Patil) (...อ่านต่อ)
ตราแผ่นดินหรือ ตราสัญลักษณ์ประจำชาติของอินเดีย ตราแผ่นดินหรือ ตราสัญลักษณ์ประจำชาติของอินเดีย (National Emblem) (...อ่านต่อ)
พระเจ้าอักบาร์มหาราช จักรพรรดิผู้ยิ่งใหญ่แห่งจักวรรดิโมกุล ยุคสมัยของพระเจ้าอักบาร์มหาราช (Akbar the Great) ถือได้ว่าเป็นช่วงที่รุ่งเรืองมากที่สุดของจักรวรรดิโมกุล ทรงขึ้นครองราชย์ในขณะยังทรงพระเยาว์ 13 พระชันษา ในปี ค.ศ. 1556 ภายหลังการสิ้นพระชนม์ของพระราชบิดา พระเจ้าฮุมายัน (Humayun) ทรงแผ่ขยายอาณาจักรไปไกลทางด้านตะวันตกถึงอัฟกานิสถาน และทางใต้ถึงแม่น้ำโกดาวารี (Godavar) ภายใต้การชี้แนะของไบรามข่าน (Bairam Khan) พระเจ้าอักบาร์ทรงยึดดินแดนได้ทั่วฮินดูสถาน และท้ายที่สุดได้ครอบครองดินแดนเกือบจะทั่วภาคเหนือของอินเดียและอัฟกานิสถาน (...อ่านต่อ)